วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ตำนานธาตุและพระบาท ผูก ๑๑

ชื่อเรื่อง         ตำนานธาตุพระบาท ผูก ๑๑ (ผูกปลาย)

ลิ้งค์ต้นฉบับ   http://www.laomanuscripts.net/lo/texts/4470#3

รายละเอียด   จศ ๑๑๙๑ (เป็นปีที่คัดลอกปีสุดท้ายที่บันทึกไว้) / ๖๓ หน้า / อักษรธรรมลาว / วัดใหม่
                  สุวัณณพูมาราม หลวงพระบาง

เนื้อหาสรุป    ทั้งหมดมี ๑๑ ผูก แต่ค้นพบและถ่ายไว้เพียง ผูกที่ ๙ กับ ๑๑ เนื้อหาช่วงปลายกล่าวถึง
                  สมัยพระะเจ้าอนุรุทธแห่งหงสาวดี มีจิตศรัทธาเลื่อมใสในพุทธศาสนา ได้ส่งพระเถระชื่อ
                  ธัมมรโส ไปศึกษาพพุทธศาสนาในลังกาทวีปที่สำนักของ พระสังฆราชา วัดพระหิน ในปี
                  พศ. ๒๐๕๐ และท่านได้คัดลอกตำนานพระบาทพระธาตุกลับมายังหงสาวดี จากนั้นตำ
                  นานฉบับนี้ได้ถูกคัดลอกเผยแพร่ไปอย่างกว้างขวาง ทั่วทั้งชมพูทวีป ตอนท้ายของคัมภีร์
                  นี้ กล่าวถึงลำดับรายชื่อผู้คัดลอก สำนัก(วัด) และปีที่คัมภีร์นี้ถูกคัดลอกไป ปีสุดท้ายที่
                  บันทึกคือ จศ. ๑๑๙๑ ตรงกับ พศ. ๒๓๙๒


 อื่น ๆ         (ปริวรรติตั้งแต่หน้า ๔๖ คือเนื้อหาตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศก เปนต้นมา)

--------------------------------------

๔๖
ตราบเมี้ยนอายุ ๘ สิบปีแล้ว พระยาอโสกก็จุตติตายไปแล้ว ในเมื่อพระยาอโสกจุต ติตายไปแล้ว ยังมีน้องชายพระยาอโสกตน ๑ ชื่อว่า ตจักขุว่าอั้น ก็ / กินเมืองปาตริบุตเล่า ก็มีเตชริทธีปราบพื้นสักกรชุมพูทวีปทั้งมวล ก็ด้วยเหตุอันได้ เปนลูกยัก เหดแม่นั้นเปนยักขิณีนั้นแล แต่นั้นไปหน้า / สืบราชกระกูลไปไจ้ ๆ ตามสกบญัตติก็มีแล ตโตบถาย แต่นั้นไปหน้า ภิกขุสังฆะก็ สืบรักสาสาสนา / ไปไจ้ ๆ ท้าวพระยามหากระสัด ก็สืบกระกูลไปไจ้ ๆ ในเมื่อพระพุทธเจ้านิพพานได้ ร้อยวัสสาปลาย ยังมีพระยาตน ๑ ชื่ออเภยยทุฐคามณีรา

๓๑ 
ช ได้เสวยเมืองลังกาทีบแล้ว วันใดยามใดพระยาอเภยยตนนั้น ก็ตัดสักราชอันเก่า นั้นเสียแล้ว ก็ตั้งสักราชอันใหม่ได้ ตัว ๑ แต่นั้นมาเสี้ยงกาลอันนานนักหั้นแล / ตโตในเมื่อพระพุทธเจ้านิพพานไปได้พันวัสสาเต็มนั้น ยังมีพระยาตน ๑ ชื่ออทิตตราช เสวยเมืองหริภุญไชยนครมี / จิตตปสาทสัทธาก็มาเปิกสาสนา ก่อเจติยธาตุดูกกระหม่อมหัว และเกสาธาตุเจ้า หลังใหญ่ ๑ ไว้ในเวียงลพูร / ที่นั้นก็มีแล ในเมื่อพระพุทธนิพพานไปได้ ๒ พันพระวัสสาเต็มนั้น ยังมีพระธัมมิ กราชตนอันเกิดมาในเมืองหงสาวดี มีเตชริทธีพาบพื้นสักกร

๔๘ 
ชุมพูทั้งมวล ก็ด้วยเหตุอันเปนลูกยัก เหดแม่นั้นเปนยักขีณีนั้นแล แต่นั้นไปภายหน้า สืบราชกระกูลไปไจ้ ๆ ตามโกสกบญัตติก็มีแล ตโตบถา / ย ตั้งแรกแต่กาละนั้นไปหน้า ภิกขุสังฆะก็สืบรักสาสาสนาไปไจ้ ๆ ท้าวพระยามหา กระสัด ก็สืบกระกูลไปไจ้ ๆ ใน / เมื่อพระพุทธเจ้านิพพานได้ ๖ ร้อยวัสสาปลาย ยังมีพระยาตน ๑ ชื่ออเภยยทุฐ คามณีราช ได้เสวยเมืองลังกา / ทวีปแล้ววันใดยามใด พระยาอัพเภตนนั้นก็สระกัดสักราช อันเก่านั้นเสีย ก็ตัดสัก ราชอันใหม่ ได้ ตัว ๑ แต่นั้นมาเสี้ยงกาละนานนักหั้นแล ตโตใน

๓๓
เมื่อพระพุทธเจ้านิพพานไปได้พันวัสสาเต็มนั้น ยังมีพระยาตน ๑ ชื่อว่าอทิตตราชช เสวยเมืองหริภุญไชนคร มีจิตตะปสาทสัทธา ก็มาเปิกสา / สร้างเจติยธาตุดูกกระหม่อมหัว และเกสาธาตุเจ้าหลังใหญ่ ๑ ไว้ในเวียงละพูนที่นั้น ก็มีแล ในเมื่อพระพุทธเจ้านิพพาน / ไปแล้วได้ ๒ พันวัสสาเต็มนั้น ยังมีพระยาธัมมิกราชตน ๑ เกิดมาในเมืองหงสาวดี มีเตชริทธีผาบพื้นสักกรชุมพู ปรากฎชื่อว่า / อนุรุทธธรรมราช มีปสาทเหลื้อมใสเลิกยกพุทธสาสนา ให้ก้านกุ่งรุ่งเรืองมากนัก พระยาตนนั้น ก็ตัดสักราชอันเก่าเสีย ก็ตั้งสักราชอันใหม่ตัว ๑

๕๐ 
แต่ปีอันพระยาได้เสวยเมืองนั้นแล ในกาละยามนั้น ยังมีเทวบุดตน ๑ ชื่อว่า ลวจัง กรเทวบุตร มีปริวารพัน ๑ ก็จุตติตายจากชั้นฟ้าต / วติงสาลงมาเอาโอบบาติกะ เกิดแทบใกล้ป่าไม้กระทันจิ่มไกล้ฝั่งน้ำสายานทีนั้น ก็ บังเกิดใหญ่มาด้วยประริ / วารพัน๑ บังเกิดด้วยวัณณะก็ลือชาปรากฎชื่อว่าพระยาลวะจังกราชา อยู่เสวยเมือง เชยยราชนคร คือเมืองเชียงลวา / ที่นั้น ในปีอันพระยาอนุรุทธธัมมิกราชเมืองหงสา ตัดสักราชนั้นแล พระยาลวะจัง กราชเสวยเมืองเชียงลวา ในเมื่อสาสนาพระพุทธเจ้าล่วง

๓๕
แล้วได้ ๒ พันวัสสาเต็มนั้น ลวจังกรราชก็มีริทธีผาบเมืองไทยทั้งมวล คันเมี้ยนอายุ ร้อยปีก็จุติตาย ก็สืบสายลูกหลาน ไปไจ้ ๆ นานนัก ภายหน้าแต่ / นั้นพระยาตนเปนเจ้าในเมืองลวาที่นั้น ก็มาเอายิงสาวแห่งพระยาเมืองอารวี ตนชื่อ รุ่งแก่นชายนั้นไปเปนนางเทวี หั้นแล พระยาตน / นั้นก็ได้ราชบุตรตน ๑ ใส่ชื่อว่ามังรายกุมมาร ก็มีแล ในเมื่อมังรายกุมมารขึ้นใหญ่มาแล้ว ก็ได้ราชสัมปัตติในเมืองหริภุญเชยยนครได้แล้ว

๕๒
ก็เสวยเมืองหริภุญเชยยนครที่นั้นแล้ว ภายลูนพระยามังรายก็เอากันออกมาตั้งเวียง ใหม่อยู่ที่ ๑ แทบตีนดอยสุ … สุเทพรสีที่นั้น ก็ปรากฎ / ชื่อว่า อภินนาวนคร คือเวียงเชียงใหม่ ก้านกุ่งรุ่งเรืองด้วยพุทธสาสนา ท้าวพระยา อามาด รัฐประชานราดลำดับด้วยปีเดือน / ชอบธัมม นานได้ ๘ สิบปีแล้วก็ตาย ลูกหลานสืบแทนราชสัมปัตติ ในเวียงเชียงใหม่ ลำดับมาเถิงพระยาลานนากินเมืองแล ห้อพายเหนือ / เอาริพลลงไปรบเมืองเชียงใหม่ พ้าลงมาผ่าห้ออยู่บ่ได้ค้านหนีคืนมา แต่กาละนั้นมา ห้อจึงบ่ลงมารบสักเทื่อ ตราบต่อเท้าพระยาลานนาจุติตายแล้ว

๓๗
ลูกหลานกินเมืองแทนสืบเถิงเช่นพระยาตน ๑ บ่มีลูกหลาน หาผู้จักเสวยเมืองบ่ได้ ก็พร้อมกันไปขอเอาเจ้าราชบุตร ในเมืองหลานชางชื่อว่า / ว่าเจ้าอุปโย ก็มีเสวยแล้วสืบขัตติยวงสามาบ่นานเท่าใด ก็ลวดเกิดเปนโกลาหล อนตรายตางเปนเสิกเปนสงคราม / ลำดับมาตราบเถิงกาละบัดนี้แล หิด้วยมีแท้แล ตำนานพระบาทและธาตุฝูงนี้บุคละ เจ้าตนใด มีชื่อดังรือ นำเอามาให้ปรา / กฎแจ้งแก่คนแลเทวดาทั้งหลายฉันนี้แท้แล ตำนานพระบาทและธาตุเจ้าอันนี้ เทวดาอินทราพรหมทั้งหลาย อันรักสาธาตุเจ้าทั้งมวล ก็กดหมายเอา

๕๔ 
ชื่อแห่งพระบาทและธาตุแห่งพระพุทธเจ้า (ลง)ไปในแผ่นหินนั้น ยาว ๑๒ สอก กว้าง ๔ สอก ตั้งไว้ที่นั้น เปนที่พระพุทธเจ้าสถิตสำรานเมื่อยังทัว / รมานในเมืองลังกา เปนปถมหัวธีนั้นแล ในเมื่อพระพุทธเจ้านิพพานไป ในปีเต่าสัน เดือน ๖ เพงนั้น ภายลุนแต่นั้น ปี ๑ / คนทั้งหลาย ก็จึงเอากันไปตั้งอยู่เมืองลังกาที่นั้น สร้างแปงบ้านเมืองคนก็มีมาก หลาย ลำดับมาเถิงพระยาเทวานัง ปิยติสสราชได้เสวย / เมืองลังกานั้น ก็มากเรยยานมิดสหายแห่งพระยาอโสกธัมมราช แล้วขอเอาสาสนา ไปตั้ง พระยาอโสกก็ราธนาเอาเจ้ามหินทเถร

๓๙
ตนเปนลูกชาย เปนประธานกว่าอรหันตาสาวกทั้งหลาย นำเอาสาสนาธาตุแลไม้สรีมหาโพธิไปตั้งไว้ในเมืองลังกาแล้ว คนทั้งหลายก็มาสร้างแปงมะ / หาวิหารหลังใหญ่ กวมแผ่นหินตำนานพระบาทแลธาตุนั้น วัดอันนั้นจึงได้ชื่อว่า มหาเลลรอาราม คือวัดพระหีนว่าอั้นก็มีแล ในเมื่อ / พระพุทธเจ้าตัดสาสนาไว้นั้น แต่พระเจ้านิพพานไปได้ ๒ พันปลาย๕ สิบ วัสสานั้น ยังจักมีพระยาธัมมิกราชตน ๑ เสวยเมืองหง / สาวัตติราชธานี ปรากฎชื่อว่า อนุรุทธธัมมิกราชว่าอั้น ท่านก็มีใจใสสัทธามักใคร่รู้ สาสนาพระพุทธเจ้าตั้งไว้ในร้อยเอ็ดเมือง ในที่ใดยัง

๕๖
รุ่งเรืองแลบ่รุ่งเรืองนั้นก็ใคร่รู้แจ้ง จึงจักแต่งใช้มหาเถรเจ้าทั้งหลายได้ ร้อยเอ็ดตน ย่อมทรงปิฏกทั้ง ๓ ชุตน ให้ตระเดินไปในร้อยเอ็ดเมืองนั้น / ก็ใช้ไปเมืองราชคหวิมหากัสสัปปะนิพพานนั้น ตน ๑ สั่งด้วยคำว่า เจ้ากูจงไปไหว้ พุทธสาสนา พระบาทแลธาตุ / เจ้าในเมืองลังกาทีปแล้วให้ไปรู้ไปเห็น วิเสสคุณ อันมีในเมืองลังกาให้แจ้งชู่ประการ แล้วมาเมตตาผู้ข้าแด / เทิน ว่าอั้นแล้วก็ให้คนทั้งหลายใช้ไปสู่เมืองวิเทหที่กัสสัปปน้อยนิพพานนั้นแล เมือง อันต่างภาสาตนใช้ไปแลเมืองอันต่างภาสานั้น ชู่เมือง

๔๑
แลเมืองตนแล้วก็ใช้มหาสามีตน ๑ ชื่อว่าคัมภีรโส ท่านเจ้าตนนั้นมีวัสสาได้ ๒๐ วัส สาแล้วพระยาก็ไหว้แล้วสั่งด้วยคำว่า เจ้ากูจงไหว้พุทธสาสนา / พระบาทและธาตุเจ้าในเมืองลังกาทวีป แล้วให้ไปรู้ไปเห็นวิเสสคุณอันมีในเมือง ลังกา ให้แจ้งชู่ประการแล้วมา / เมตตาผู้ข้าแดเทิน ว่าอั้นแล้วก็ให้คนทั้งหลายแต่งแปงสะเพาให้ดีหมั้นคงนัก แล้วก็ ส่งมหาสามีเจ้าตนชื่อธัมมรโสไป / ด้วยสะเพานานได้ ๖ เดือน จึงไปรอดไปเถิงเมืองลังกาทวีปหั้นแล คันมหาสามีเจ้า ไปรอดแล้ว ก็เข้าไปจอดเซาวัดหลวงพระหีน ที่มหาสังฆราชนายกอยู่

๔๒
นั้นแล เมื่อนั้นมหาสังฆราชครูวัดพระหีน จึงถามว่าอาวุโสธัมมรโส ดูราท่านเจ้าธัม มรัสสเจ้ากู แอ่วแสวงมารอดประประเทสบ้านเมืองที่นี้ ประโย / ชนะสันใดชา เมื่อนั้นมหาสามีธัมมรโสไหว้แล้ว จึงขานตอบว่าภันเต ข้าแด่มหาสังฆนายกเจ้า ในกาละบัด / นี้ยังมีพระยาธัมมิกราชตน ๑ เกิดมาชื่อว่าอนุรุทธราช ท่านจึงได้เสวยราชสัมปัตติ เปนเอกราชะใหม่ มีใจ / ปสาทสัทธาก็เลิกยกยอเปิกสาพุทธสาสนา ในเมืองหงสาวดีราชธานี ก้านกุ่งรุ่งเรือง แล้วมักใคร่รู้พุทธสาสนาอันไปตั้งไว้ในสักกร
  
๔๓
ชุมพูร้อยเอ็ดเมืองที่ใด ยังเชฐกะรุ่งเรืองมักใคร่รู้แจ้ง จึงแต่งมหาเถรเจ้าร้อยเอ็ดตน ให้ไปแลเมืองแลตน คือร้อยเอ็ดภาสาเปนมหานครนั้น ชุแ / แห่งแล้ว ก็แต่งใช้ผู้ข้ามาสู่ลังกาทวีปที่นั้นนานได้ ๖ เดือน จึงมารอดที่นี้ เพื่อจักมา ไหว้พุทธสาสนาพระบาทแลธาตุเจ้าในเมือง / ลังกาทวีปที่นี้แล ว่าอั้นเมื่อนั้นพระมหาสังฆราชาตนนั้นจึงกล่าวว่า สาธุดีแล ดูราเจ้าธัมมรโส เจ้าได้เอาตนตัวเข้ามา / ที่นี้ เพื่อจักมาไหว้สรีรกธาตุแลพระบาทแลไม้สรีทักขิณสาขา มหาโพธิเจ้าแลเปนอันดีนักแก่ท่านแล หื้อด้วยมีแท้แล พระบาทแลธาตุเจ้าแลไม้สรี

๔๔ 
 มหาโพธิอันประเสิด ในเมืองชุมพูก็มีมากนักแล หื้อด้วยมีแท้เมื่อสัพพัญญู พระพุทธเจ้า ยังทัวรมานไป่เข้าสู่นิพพานเทื่อนั้น พระพุทธเจ้า ก็เอาอรหันตาสา วักกะ / เจ้าทั้งหลาย ไปจระเดินโปรดสัตว์โลกทั้งหลาย ไปไว้พระบาทแลเกสาธาตุแล้วก็ทำ นายไว่ให้ธาตุเจ้าไปไว้บ้านใหย่บ้าน / น้อยเมืองใหย่เมืองน้อยทั้งหลาย ตางแล้วเมื่อพระพุทธเจ้านิพพานแล้ว อรหันตาสาวกเจ้า ก็นำเอาธาตุเจ้าแลพระยาอินพระยาอโสก / ก็พร้อมกันเอาธาตุเจ้า ถปนาไว้ในที่อันพระเจ้าทำนายไว้นั้น ชู่แห่งชู่ที่หั้นแล ด้วยมี เทวดาทั้งหลายฝูงอยู่เฝ้ารักสาพระบาทธาตุเจ้านั้น เขาก็นำเอา 
 
๔๔
ธาตุมาตั้งไว้ อังคารเจดีในเมืองอลวีที่ ๑ ไปไว้เมืองโยนกะทั้งมวล ตามอัน พระพุทธเจ้าหากทำนายนั้น ให้คนทั้งหลายกระทำตามอาชญาแห่งตน / ขุดขุมลงเลิกได้ ๗ วา ไว้ธาตุพระเจ้าในกระอูบแก้วกระอูบ คำ กระอูบทองกระอูบดิน แล้วก่อดินแลอึดไว้แล้ว พระยาอโสกราช / าช ให้ประจุไว้ธาตุในดอยพูรแห่ง ๑ ดอยพังแห่ง ๑ ในดอยมูงเนิอกอลงแห่ง ๑ ไว้ ดอยตีนเป็ดแชน้อยแห่ง ๑ ในดอยถ้ำคูดแห่ง ๑ ไว้ดอยพอ / บแห่ง ๑ ไว้ดอยลูงน้ำห้วยแห่ง ๑ ไว้ดอยหอยแห่ง ๑ เมืองหงเชิงแห่ง ๑ ไว้ดอยเต่า แห่ง ๑ ไว้ดอยชะแคเมืองฝางแห่ง ๑ ไว้ดอยคำแชเลียงแห่ง ๑ ไว้ดอย

๔๕
ชื่อเมืองชื่อบ้านและชื่อประเทศถ้ำแลดอยอันไว้พระบาทแลธาตุทั้งมวล อันมีในชุม พูทีปนั้น มาแต้มเขียนไว้ในแผ่นหิน แทบฝามหาวิหารที่นั้น ด้วยคำว่าพระบาทและ ธา / ตุ ชื่อนี้ ชื่อนี้ ตั้งไว้ในเมืองชื่อนี้ ในบ้านชื่อนี้ ในดอยชื่อนี้ ในถ้ำคูหาที่นี้แล ว่าอั้นก็ เขียน สาตาไว้ในวิหารที่นี้แล ไผใคร่รู้ใคร่ / หันจงไปดูเทิน ว่าอั้นแล้ว พระมหาสังฆะราชาวัดพระหีนก็กล่าวว่าอั้น แล้วก็เอา หนังสือทำนายพระบาทและธาตุ อันมีในร้อยเมืองใน / ชุมพูทวีปทั้งมวลนั้น มาให้มหาสามีธัมมรโส ได้อ่านดูหั้นแล มหาสามีธัมมรโสก็ อ่านดูให้รู้ชู่แห่ง ว่าธาตุพระพุทธเจ้า

๔๖
อันถปนาตั้งไว้ ในระวงขงเขตเมืองหงสาวดี ๕ แห่ง และธาตุอันมาตั้งไว้ในระวงขง เขตยวนเมืองหริภุญเชยยนคร มี ๒๓ แห่ง กับทั้งพระบาท ที ๑ / ๒ แห่ง แลธาตุอันมีในเมืองลื้อเมืองไทย กับพระบาทเจ้ามี ๗๐ แห่ง ก็จงรู้แจ้งทั้ง ร้อยเอ็ดเมืองชู่แห่งชู่ที่แล้ว มหาสามีเจ้าก็ / คระนึงใจว่า ตำนานธาตุแลพระบาท อันมีในร้อยเอ็ดเมืองนั้น แม้นว่ากูแต้มเขียน เอาเมือ ก็จักไปไหว้รอดชู่แห่งแล เหด / ว่าไกลนักนั้นแล กูเท้าแต้มเอาแต่ค่าอันจักไปไหว้รอดนั้นเทอะ ว่าอั้นแล ก็มาแต้ม เขียนเอาตำนานธาตุพระบาท ค่าอันตกเมืองที่ไกล้ คือว่าตำนานอัน

๔๗
อันมีระวงขงเขตเมืองหงสาวดีทั้งมวลแลเมืองกุสินารายอันเปนระแว่นแคว้นเมืองเมง กับตำนานพระบาทแลธาตุอันมีในระวงขงเขตเมืองลื้อเมืองไทยทั้งมวลนั้นแล / มหาสามีธัมมิระโสเจ้าตนนั้นก็อยู่เข้าวัสสาในลังกาทวีปที่นั้น ได้ปี ๑ แล้วจึงจักพอกคืนมาด้วยสะเพานานได้ ๖ เดือนแล้วก็มารอด / เมืองหงสาวดีดั่งเก่า แล้วก็มาเมตตา ก็กล่าวแก่พระยาอนุรุทธธัมมรชตา อาการ อัน ตนหากได้ไปรู้ไปเห็นแลได้บู / ชานั้นชู่ประการแล้ว ส่วนตนก็ตระเดินแอ่วไปไหว้พระบาทและธาตุในหงสาวัตถี ราชธานีชู่แห่งแล้ว ก็ไปไหว้พระบาทและธาตุเจ้าในเมืองลื้อเมือง

๔๘
ไทยชู่แห่งแล้ว ก็ลงไปไหว้พระบาทธาตุในเมืองยวน แลเมืองหริภุญเชยยนครชู่แห่ง ผับแผวตามออกในตำนานนั้น ก็ไปตาบต่อเท้าเถิง / ดอยเกิ้งคำเมืองหอด ท่าหัวเคียนหั้นแล ในกาละนั้นยังมีเจ้าภิกขุตน ๑ ชื่อว่าโพธิสมพารว่าอั้น ท่านก็เปนลูกชาวบ้านนาวากา / ก็มาคือบ้านช้างแปงเรือนอยู่ที่วัดที่จิ่มใกล้กิ่ม ดอยเกิ้งคำที่นั้น ท่านมีวัสสาได้ ๖๐ วัสสาแล้วท่านได้ยินข่าวสาร / ว่าเจ้าไทยมหาสามีธัมมรโส เมืองหงสาวดี ท่านไปเมืองลังกาได้ตำนานพระบาท และธาตุมาแล้ว แอ่วจระเดินไหว้และบูชามารอดที่นั้น ก็คระนิงใจ

๔๙
ว่าตำนานอันวิเสดสันนี้ หายากนักจักได้รู้ได้ยินก็ยากแล กูจักขอเผียกเทียมเขียนไว้ เทอะ ว่าอั้นแล้ว จึงไปสู่พระมหาสามีเมืองเมงตนนั้น แล้วขอแต้มเขียนเอาไว้ โชฏก / พุทธสาสนาในปีกาจุลสักราชได้ ๘๘๕ ตัว เดือน ๗ ดับ เมงวัน ๓ ไทรวายยีนั้นแล แต่นี้ไปภายหน้าเจ้าไทยและบุคละผู้ใด / เจตนามี หากจักใคร่เผียบใคร่เขียนเอาดั่งอั้น ให้เขียนทั้งมวลให้เสี้ยงคำแท้ อย่า อยุดอย่าอย่อนเสียสักตัวแท้ คันอุสสหะเพียรบ่ได้ / อ่านเขียนเอาให้ชำคาบ่ได้ ก็อย่าหนาเอาลางแล้ว ดีแล เหดจักละเปนบันเปนมอน เสีย บ่ควรแล บุคละผู้ใดจักเขียนเอา ให้ตั้งค่าเติน 

๕๐
เราผู้ชื่อโพธิสมพานเรานี้เทินจึงจักดีแล ถัดภายหน้าแต่นั้น มีมหาเถรเจ้าตน ๑ ชื่อ อันรญกะวัด อันอยู่ป่าจึงได้สืบเอาในสำนักมหาเถรเจ้า / เจ้าตนชื่อโพธิสมพาร ในปีเปิกไจ้ สักราชได้ ๘๙๐ ตัว เดือน ๗ แรม ๘ ค่ำ เมงวัน ๕ ไทยกัดไส้แล ถัดภายหน้าแต่นั้น ม / หาสามีเชตวัน ก็สืบเขียนเอาสำนักมหาป่าเจ้าตนนั้น ในปีไจ้นั้นสิ่งเดียวแล ถัดนั้น ภายหน้า แต่นั้นพระมหาธัมม / จุทธาอยู่เมตตาวัดสนุก ก็เขียนเอาสืบเอาแต่เจ้ามหาสามีวัดป่าเชตวัน ในปีเปิกไจ้ นั้นเล่าแล ถัดนั้นเจ้าอนุรุทธตนอยู่วัด

๕๑
 มหาธาตุเมืองหริภุญเชยยนครในปี ร้วงเหม้าสักราชได้ ๘๙๓ ตัว เดือน ๕ ออกค่ำ เมงวัน ๖ ไทกาบสัน นั้นแล มหาสังฆราชาเจ้าในเมืองล / พูร ก็เขียนเอาแต่อนุรุทธเถรเจ้า แล้วถัดนั้นเจ้าอโนรัสสภิกขุ ก็เขียนสืบเอาแต่มหา สังฆราชาละพูนเล่าแล ถัดนั้น / อุบาสกผู้ ๑ ชื่อพันปวง ก็ชอสืบเอาแต่สำนักเจ้าอโนรัสสภิกขุ วัดบานเมืองลัง เชียงใหม่ แล้วถัดนั้นมีเถรเจ้าตน ๑ ขอเขียนเผียก / เอาแต่พ่อปวงสืบมา ยังมีมหาเถรเจ้าตน ๑ ชื่อธัมมจุธาสืบเขียนเอาเล่า ถัดนั้นยังมี อุปปาสักกะผู้ ๑ เขียนสืบเอาธัมมจุธาเถรเจ้าในปี

๕๒
มึงเมด สักราชได้ ๙๑๙ ตัว เดือน ๕ ออก ๘ ค่ำ เมงวัน ๓ ไทยเมิงเหม้า ฤกษ์ได้ ตัว ๑ ชื่อว่ากรณีนั้นแล ถัดนั้น พุทธวังสเถร ก็เขียนสืบเอาแต่อุปปาสกผู้ / นั้นแล ลูกสิดตน ๑ ชื่อว่าสุวัณณะก็สืบเขียนเอาแต่พุทธวังสะเถรเจ้าแล ถัดนั้นพระ มหาสังฆราชาตนชื่อมหาสีสิไชก็ขอสืบเอา / แต่เจ้าสุวัณณะปางเมื่ออยู่วัดบ้านกวาง เมืองบาง ในปีก่าเป้า สักราชได้ ๙๑๔ ตัว เดือน ๕ ลง ๔ ค่ำ เมงวันไทยรวาาย / เสดนั้นแล ถัดนั้นมหาเถรเจ้าตน ๑ ชื่อว่าอินทปัญญาสืบเขียนเอาแต่มหาวิไชสังฆ ราชา ในปีกาบเสด สักราชได้ ๙๙๖ ตัว เดือนออกค่ำ ๑ เมง

๕๓
วัน ๕ ไทรับวาเหม้านั้นแล ถัดนั้น พระมหาสังฆราชาวัดสรี ๒ เมือง ตน ๑ ชื่อนาค เสนอยู่วัดบ้านดอกคำ เมืองหยอบุรเหนือ ก็เขียนเอาแต่เถรเจ้าอินทปัญญาในปีกด ยี เ / เถิงปีรวงเหม้า สักราชได้ ๙๙๖ ตัว เดือนออก ๒ ค่ำ เมงวัน ๕ ไทยเปิกยี แล้วยาม กองแลงนั้นแล ถัดนั้นพระมหาขนานน้อย ก็ขอสืบเอา / แต่มหานาคสังฆราชาในปีกาบเสด สักราชได้ ๙๙๖ ตัว เดือน ๑๑ ออก ค่ำ ๑ เมง วัน ๕ ไทรับเหม้านั้นแล ถัดนั้นพระมหา / สังฆราชาวัดสรี ๒ เมืองตนชื่อนาคเสนอยู่วัดบ้านดอกคำ เมืองบุรเหนือก็ขอเขียน สืบเอาแต่เถรเจ้า อินทปัญญา ในปีกดยี เถิงปีรวงเหม้า ส

๕๔
กราชได้ ๙๙ ตัว เดือน ๖ ออก ๒ ค่ำ เมงวัน ๕ ไทยเปิกยีแล้วยามกองแลงนั้นแล ถัดนั้นพระมหาขนานน้อย ก็ขอสืบเขียนเอามหานาคสังฆราชาสรี ๒ เมือง / ในปีก่าเหม้าสักราชได้ ๑๑๒๕ ตัว เดือน ๙ ออกค่ำ ๑ ๓ ค่ำ เมงวัน ๒ ไทยรับกัดเร้า ยามแถรใกล้ค่ำนั้นแล ถัดนั้น / หาปัญญาเถรเชียงรุ่ง เมืองลื้อมาอยู่เมตตาวัดบ้านหลวงเมืองลวานั้น ก็ขอสืบเขียน เอาแต่เจ้ามหาขนานน้อย ในปีเปิกสัน / สักราชได้ ๑๑๓๐ ตัว เดือน ๙ ลง ๗ ค่ำ เมงวัน ๗ ไทยเปิกสงา ยามเที่ยงวันนั้นแล ภายหน้าแต่นั้นมานานนัก ยังมีภิกขุตน ๑ ชื่อว่า โกวิทา ก็สืบ

๕๕
เขียนเอาแต่เจ้ามหาปัญญาวุทธิเชียงรุ่ง ในปีกาซงา สักราชได้ ๑๑๓๖ ตัว เดือน ๔ ออก ๖ ค่ำนั้นแล ถัดนั้นไปภายหน้า ยังมีราชครูตน ๑ ชื่อว่า มหาป / ญญาวิเสสาก็เผียกเขียนสืบเอาแต่มหาโพธิวิทนเจ้ามา ถัดนั้นยังมีเจ้ามหาพล ปัญญาภิกขุ สืบเขียนมาแล ถัด / นั้นยังมีปัญญาอุปปาสักกะบ้านผ้อ เมืองลวงสืบเขียนเอาแต่มหาพลปัญญาภิกขุ ในปีรวายยี สักราชได้ ๑๕๘๒ ตัว เดือน ๑๐ ออก ค่ำ / ๑ แล้วถัดนั้น ยังมีมหา ตกสโรวภิกขุ วัดบ้านฝ้ายเมืองลวง ก็สืบเขียนเอาแต่หนังสือ สืบปัญญาอุปปาสักกะ ในปี เปิกสงา สักราชได้ ๑๑๗

๕๖
๐ ตัว เดือน ๙ ออก ๑๒ ค่ำ พร่ำได้วัน ๓ ไทกาบเสด ฤกษ์ได้ ๑๒ ตัว ข้าแล ถัดนั้น ยังมีมหากวินทาภิกขุเมืองลวย มาเมตตาสถิตสำราน เปนร / ราชครูในเมืองบานยู้ ก็ได้มาริจนาแต้มเขียนสืบไปหน้า ให้คระหัดแลนักบวชเจ้าทั้ง หลายได้ฟัง ให้เขาฝังเชื่อในพุทธสาสนา / พระเปนเจ้า ในปีรวงเร้า สักราชได้ ๑๑๖๓ ตัว อาธิกมาสเดือนออก ๕ ค่ำ พ่ำได้วัน ๔ ไทรับไส้ เปนที่แล้วบ่ร / มวนยามกองแลง เพื่อจักให้แล้วแก่หัตถกัมม เพื่อให้เปนธัมมวุทธิแก่สาสนา โชฏก ปรมปรายาว ตราบ ๕ พันวัสสา ก็มีแล ตโต

๕๗
ปรํภายหน้าแต่นั้นยังมีเจ้าตน ๑ ชื่อว่า ชีกจังกสมหาราชา เสวยสัมปัตติในมหารัฐ คือเมืองหลวงว่าอั้น ก็ขอสืบเขียนเอาแต่สำนักมหาเถรเจ้าตนอันสถิตสำราน / ในเมืองกัทธลีอาราม คือวัดป่ากล้วยเมืองสิง ในปีกดสงา (สักราช) ได้ ๑๑๗๒ ตัว เดือน ๑๒ แรม ๖ ค่ำ เมงวัน ๔ ไทยก่าเร้า ยามกองงาย ฤกษ์ได้ ๗ ตัว / นั้นแล ถัดนั้นยังมีมหาสมเด็จมัคควรราชครูบุรมา อันเปนเจ้าอธิสัตติในวิชุลลมหา วิหาร และแม่เถ้าจัวทิ อันอยู่ในเมืองหลวงล้านช / ช้าง ก็ไปเขียนเอานำมหาอุบาลีเถร อันอยู่ในเมืองเชียงรุ่ง (…?...) นาทีมาเขียนไว้ ในเมืองหลวงล้านช้าง ไว้ให้คระหัดและนักบวชเจ้าทั้งหลาย ได้ฝังแล้วให้เขา

๕๘
 ฝังเชือในพุทธสาสนาพระเจ้า ในปีกัดเป้า สักราชได้ ๑๑๙๑ ตัว เดือน ๑๑ ขึ้น ๑๓ ค่ำ พร่ำว่าได้วัน ๗ มื้อกาบสี ฤกษ์ ๒๘ ตัว ริจจ /นาแล้ว ยามตูดช้าย เมื่อวัน เพื่อให้เปนธัมมวุทธิแก่สาสนา โชฏกปรมฌรายาวะ
  ตราบ ๕ พันวัสสา ก็มีแล บุคคโล/ อันว่าบุคคละผู้ใด คือนักบวชแลคระหัดยิงชายผู้ใดผู้ ๑ อันเจตนาสัทธามีฝังเชือใน กุสละธัมมลิกขิตัง ว่าอั้นได้แต้มเขียนด้วยตน / ก็ดี ได้จ้างท่านผู้อื่นเขียนก็ดี จินติตวา ได้รนึกคึดเถิงก็ดี ได้สักการะบูชาก็ดี ด้วยปร มามีสสะมีต้นว่าเข้าน้ำโภชนะอาหาร เข้าเปลือกเข้าสาร วัตถุเงินคำแก้วมุก

๕๙
ดาหารวตถาภารณประทีปธูปเทียน ช่อทุงสัดเกิบน้ำอุ่นน้ำเย็นและไม้สีฟันเปนต้นก็ ดี ธราว่าได้ทรงจำไว้ก็ดี วาจนํว่าได้เทสนาบอกกล่าวแก่ท่านก็ดี คูรุว่าได้ครา / รวะครบอยำด้วยตนด้วยปากด้วยใจก็ดี เทสนํได้เทสนาแก่คนและเทวดาทั้งหลาย ให้ได้ฟังก็ดี สุตวาได้ฟังอันท่านหากเทสนาบอก / กว่าวและใส่ใจด้วยปสาทสัทธา เหลื้อมใสยินดีซึ่งพระบาทและชินธาตุเจ้า อัน พระพุทธเจ้าตนมีมหากรุณา หากไป / ประเมตตาเหยียบย่ำไว้ ถปันนาตั้งไว้ ยังพระบาทและธาตุวิเสดแต่เมื่อยังทัวรมาน นั้นก็ดี เมื่อพระเจ้านิพพานแล้ว อรหันตสาวกเจ้า หากนำเอาธาตุเจ้าเข

๖๐ 
เข้าไปถปันนาไว้ ให้เปนที่ไหว้และบูชาแก่คนและเทวดาทั้งหลายนั้นก็ดี โยบุคคโล อันว่าบุคคละยิงชายคระหัดและนักบวชทั้งหลายฝูงนั้น ก็ได้ผละอานิ / สงสมากนัก บ่อาดจักคณนานับได้แล บุคละเจ้าไทยตนนั้น ก็ได้ชื่อว่าอวินิบาตบุ คละผู้ประเสิด ก็บ่ได้ไปเกิดในอา / บายทั้ง ๔ สักคาบตราบต่อเท้านิพพานชะแล บุคละผู้นั้น เสมิดั่งได้เห็นได้อุปฐาก ปฏิบัติพระพุทธเจ้าชู่วัน/ ชู่ยาม ตราบพระพุทธเจ้านิพพานนั้นแล ประการ ๑ ก็เสมอดั่งได้ไหว้นบครบอยำ และบูชาให้ทานประไจทั้ง ๔ นั้นชู่วันแล ประการ ๑ เสมอดั่งได้

๖๑
ปากจา ได้ไหว้ได้ถามปัญหาเซิ่งพระพุทธเจ้าอยู่ชู่วันชู่ยามนั้นแล ประการ ๑ เสมอ ดั่งได้ไปตามหลังพระพุทธเจ้าชู่บาทย่างตีน ก็มีแล ประการ ๑ ก็เปนดั่งไ / ได้ฟังเสียงปากเสียงจาเสียงเทสนาธัมมคำสอน แห่งพระพุทธเจ้าชู่วันแล ประการ ๑ ก็เสมอดั่ง ได้ไปเปิกสาสนาแปงเจดี / วิหารที่ส่ำรานพระบาทและธาตุเจ้าทั้งหลายฝูงกล่าวมานี้ ชู่แห่งชู่ที่แล ประการ ๑ ก็ เสมอดั่งได้เอาตนเข้าไป / ไหว้นบบูชาอุปฐากชู่วันชู่ยามนั้นแล ประการ ๑ เสมอดั่งได้พ่ำเพงกุสละบุญ ด้วย ปากด้วยใจไจ้ ๆ ชู่วันชู่ยามนั้นแล ด้วยเตชะผละอ

๖๒
านิสงส อันนี้ก็จักค้ำชูให้ได้ตั้งอยู่ในคลองอันชอบ ประกอบด้วยยัสสะกิตติลือชา ญาณประผาย รู้หลักกว่าท่านทั้งหลาย เภยยอันตรายต่าง ๆ ก็ดี พยาธิ / ทั้งหลายต่าง ๆ ก็ดี อุบาทสัตรูต่าง ๆ ก็ดี ก็จักระงับกับหาย จักสมริทธิบรมวลด้วย เข้าของเงินคำ เข้าเปลือกเข้าสารขอเลี้ยง / ของดู เตชริทธีมากนัก ก็จักให้เถิงสุขชั่วนี้ชั่วหน้า ยิ่งกว่าคนและเทวดาทั้งหลาย ชะ แล แม้นสมพายแก่กล้าก็จักได้เถิงนิ / พานในสาสนาพระพุทธเจ้าโคตมะดีหลีแล แม้นสมพารบ่กล้าบ่แก่ ยังทวรเทียวไป มา ในวัฏฏสงสาร ก็บ่จักได้ไปเกิด
 
๖๓
 ในอบายทั้ง ๔ สักคาย ตราบได้เห็นหน้าพระอริยะเมตไตย / เจ้าแล้ว ก็จักได้เกิดมัคคะผละธัมมในสำนักพระพุทธเจ้าตนนั้นแแท้ บ่สงสัยชะแล บาทธาตุกถา เอกาทัสกัณโฑ นิตถิ / โต กรียาเทสนาตำนานพระบาทและธาตุ ผูกถ้วน ๑๑ อันเปนผูกปลาย ก็สมเรจจ สระเดจจบัวรมวลด้วยประการ / ดังกล่าวมานี้แล ก็จงพิจจารณาดีดี ตามมูลเพิ่นขอยแล้วเรียนเขียนใหม่ตัว น้อยตัวใหย่บ่เสมอ เขียนแล้วเที่ยงวันแล
_________________________________


ลำดับการสืบทอดคัดลอกตำนานพระบาทพระธาตุ จากลังกาทวีป
พระมหาสังฆราชครู วัดพระหีน ลังกา

พศ. ๒๐๕๐ ธัมมรโส จากเมืองหงสาวดี เดินทางไปลังกาเพื่อศึกษาพระพุทธศาสนา และได้คัดลอกตำนานพระบาทพระธาตุมาจากพระมหาสังฆราชครู วัดพระหินเมืองลังกา เมื่อท่านกลับมาหงสาวดีแล้ว ก็มีการคัดลอกเผยแพร่ต่อ ๆ กันเป็นลำดับมาดังนี้
 
จศ. ๘๘๕ พระภิขุโพธิสมพาร บ้านช้าง ใกล้ดอยเกิ้งคำ
จศ. ๘๙๐ มหาป่าอันรญก (น่าจะเป็น อรัญญิก)
จศ. ๘๙๐ มหาสามีวัดป่าเชตวัน
จศ. ๘๙๐ พระมหาธัมมจุทา วัดสนุก
จศ. ๘๙๓ อนุรุทธเถร วัดมหาธาตุ หริภุญไชย ลำพูน
พระมหาสังฆราชาเจ้า เมืองลำพูน
อโนรัสสภิกขุ
อุบาสกพันปวง
ธัมมจุทาเถร
จศ. ๙๑๔ พุทธวังสเถระ
อุบาสกสุวัณณะ (ลูกศิษย์พุทธวังสเถร)
มหาสีวิไชสังฆราชา
จศ. ๙๙๖ มหาเถรอินทปัญญา
จศ. ๙๙๖ มหาสังฆราชาวัดสรีสองเมือง (นาคเสน)
จศ. ๑๑๒๕ มหาขนานน้อย
พระมหาปัญญาเถระ เมืองเชียงรุ่ง (คัดลอกไปตอนมาจำพรรษาอยู่เมืองชวา)
พระโพธิวิทา
พระมหาปัญญาวิเสสา
จศ. ๑๑๘๒ พระมหาพลปัญญาภิกขุ
ปัญญาอุบาสก บ้านผ้อ เมืองลวง
พระมหาตกสวโรภิกขุ บ้านฝ้ายเมืองลวง
มหากวินทา ภิกขุ เมืองหลวย (คัดลอกตอนมาอยู่ วัดบ้านยู้)
---------------------------
มหาเถรวัดป่ากล้วย เมืองสิง
ชีจังกะสะมหาราชา เมืองลวง
---------------------------
มหาอุบาลีเถร เมืองเชียงรุ่ง
จศ.๑๑๙๑ มหาสมเด็จมัคควรราชครูบุญมา วัดวิชุล และแม่เจ้าจัวทิ